โดย ปวิวัณณ์ คำเจริญ

ตามกติกาของ SiamReview ให้แบ่งเป็น “ข้อยเก็ง” กับ “เต็งจ๋า” ก็ขออธิบายก่อนว่า “ข้อยเก็ง” หมายถึงผู้เข้าชิงที่ดิฉันเชียร์ เป็นรสนิยมของดิฉันล้วนๆ ส่วน “เต็งจ๋า” หมายถึงผู้เข้าชิงที่ดิฉันคาดว่าจะชนะ เป็นการเดาใจกรรมการออสการ์ ทั้งนี้ ดิฉันขอเก็งแค่ 10 สาขา เฉพาะสาขาที่พอจะมีความรู้ ดังต่อไปนี้ฮ่ะ

[ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”1. สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (Best Picture)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

Manchester by the Sea
เหตุผล: สมบูรณ์ทุกองค์ประกอบ เป็นหนังที่ดูสนุกและสัมผัสใจ

เต็งจ๋า

Moonlight
เหตุผล: กระแสแรงสุด ออสการ์จะไม่ so white แบบปีที่แล้วนาจา

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”2. สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม (Best Director)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

เคนเนธ โลเนอร์แกน จาก Manchester by the Sea
เหตุผล: แม่นยำ ชัดเจน และจริงใจ ในการบอกเล่าเรื่องราว

เต็งจ๋า

เดเมียน เชเซลล์ จาก La La Land
เหตุผล: ตอนนี้นางเป็นลูกรักของเวทีรางวัล

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”3. สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (Best Actor)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

เคซีย์ แอฟเฟล็ก จาก Manchester by the Sea
เหตุผล: ทำตัวละครที่ดูธรรมดาให้โดดเด่นและเป็นที่น่าจดจำ

เต็งจ๋า

เคซีย์ แอฟเฟล็ก จาก Manchester by the Sea
เหตุผล: แสดงดี บทก็ส่ง หนังก็เจ๋ง

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”4. สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (Best Actress)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

อิซาแบลล์ อูแปร์ จาก Elle
เหตุผล: ทำตัวละครที่โดดเด่นอยู่แล้วให้โดดเด่นยิ่งขึ้นจนถึงขีดสุด

เต็งจ๋า

อิซาแบลล์ อูแปร์ จาก Elle
เหตุผล: เป็นบทที่ฮอลลีวูดทึ่ง และหนังก็ประสบความสำเร็จมากในอเมริกา

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”5. สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (Best Supporting Actor)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

ลูคัส เฮดเจส จาก Manchester by the Sea
เหตุผล: น้องเก่ง

เต็งจ๋า 

มาเฮอร์ชาลา อาลี จาก Moonlight
เหตุผล: ทำหน้าที่ “สมทบ” ได้ดี คือ ตัวเองก็เล่นดี ทั้งยังช่วยเสริมส่งนักแสดงนำด้วย

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”6. สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (Best Supporting Actress)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

นิโคล คิดแมน จาก Lion
เหตุผล: เชื่อทุกอย่างที่นางเป็น อินทุกอย่างที่นางรู้สึก

เต็งจ๋า 

เนโอมี แฮร์ริส จาก Moonlight
เหตุผล: แปลงโฉมได้อย่างน่าเชื่อถือ เข้าถึงบทบาทได้อย่างน่าตะลึง

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”7. สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม (Best Original Screenplay)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

The Lobster โดย ยอร์กอส ลานทิมอส และ เอฟทิมัส ฟิลิปปู
เหตุผล: สมบูรณ์แบบ คาดเดาไม่ได้ ท้าทายการตีความ

เต็งจ๋า 

La La Land โดย เดเมียน เชเซลล์
เหตุผล: ออสการ์ชอบบทที่ไม่ค่อยสมบูรณ์แบบ แต่มีบางอย่างโดดเด่น

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”8. สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม (Best Adapted Screenplay)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

Arrival โดย เอริก เฮสเซอเรอร์ ดัดแปลงจาก Story of Your Life เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ของเท็ด เจียง
เหตุผล: เส้นเรื่องบรรจบกันเป็นวงกลม อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต สอดประสานกันอยู่ในวงกลมนั้น เหมือนเส้นเวลาของมนุษย์ต่างดาวเฮปตาพอดส์

เต็งจ๋า 

Moonlight โดย แบร์รี่ เจนกินส์ และ แทเรลล์ แอลวิน แมคครานีย์ ดัดแปลงจากบทละครเวที In Moonlight Black Boys Look Blue ของ แทเรลล์ แอลวิน แมคครานีย์
เหตุผล: แบ่งเป็น 3 องก์เก๋ๆ ถ่ายทอดด้วยภาษาหนังได้ดี

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”9. สาขาดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (Best Original Score)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

La La Land โดย จัสติน เฮอร์วิตซ์
เหตุผล: ดนตรีคือทุกสิ่งอย่างของหนังเรื่องนี้

เต็งจ๋า 

La La Land โดย จัสติน เฮอร์วิตซ์
เหตุผล: เป็นดนตรีประกอบหนังที่สร้างปรากฏการณ์ในวงกว้าง

[/ultimate_info_table][ultimate_info_table design_style=”design03″ color_scheme=”custom” package_heading=”10. สาขาเพลงประกอบยอดเยี่ยม (Best Original Song)” heading_font_style=”font-weight:bold;” heading_font_size=”desktop:20px;”]

ข้อยเก็ง

Audition (The Fools Who Dream) จาก La La Land
ทำนองโดย จัสติน เฮอร์วิตซ์ เนื้อร้องโดย เบนจ์ พาเส็ก กับ จัสติน พอล
เหตุผล: ไพเราะที่สุด กินใจที่สุด เข้ากับเนื้อเรื่องและตัวละครที่สุด

เต็งจ๋า 

City of Stars จาก La La Land
ทำนองโดย จัสติน เฮอร์วิตซ์ เนื้อร้องโดย เบนจ์ พาเส็ก กับ จัสติน พอล
เหตุผล: มีความเป็นเพลง theme มากกว่า Audition

[/ultimate_info_table]