หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 9: วิธีป้องกันตัวเองให้ห่างจากโรคหัวใจ
ไม่อยากเป็นโรคหัวใจ หรือหลอดเลือดหัวใจตีบ ต้องทำยังไง
มีวิธีป้องกันตัวเองหรือไม่
กินอาหารเสริม หรือออกกำลังกายจะช่วยได้หรือไม่
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
วิธีดูแลคอนแทคเลนส์
ผู้ใช้คอนแทคเลนส์ทั้งหลาย ฟังให้ดีน้า ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ทุกวันซะเถิด
ไม่อย่างนั้นจะเสี่ยงทำให้ดวงตาเสียหายนะ เราเตือนแล้วนะจ๊ะ
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 8: สิทธิการรักษา / สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในปัจจุบัน
หากต้องเข้ารับการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ เราจะใช้สิทธิการรักษาพยาบาลอะไรได้บ้าง?
สิทธิของเราที่มีครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลมากน้อยแค่ไหน เราต้องจ่ายเงินเพิ่มหรือไม่?
สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยเป็นอย่างไร?
เราเป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือไม่?
ถ้าปล่อยทิ้งไว้ ไม่เข้ารับการรักษา จะเกิดอะไรขึ้น!?
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies): 13 คำถามควรรู้!
เข้าหน้าร้อนอีกแล้ว ต้องระวังโรคที่สำคัญที่สุดที่มักจะระบาดกันในช่วงร้อนๆ แบบนี้กันด้วย
นั่นคือ...โรคพิษสุนัขบ้า!
และอย่าเพิ่งคิดว่า ไม่เป็นไร เดี๋ยวหมดหน้าร้อนเมื่อไหร่ก็หายห่วงได้หรอกนะ...
เพราะจริงๆ แล้วโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคเรบีส์สามารถเป็นได้ทุกฤดูกาล
ที่สำคัญ...หากได้รับเชื้อแล้วไม่ได้รับการรักษา จนกระทั่งแสดงอาการ ผู้ป่วยมักเสียชีวิตทุกราย!!!
ถ้าอย่างนั้น โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากอะไร และเราจะป้องกันได้หรือไม่
มาทำความรู้จักโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคเรบีส์ (Rabies) นี้กันอย่างละเอียดดีกว่า
9 เหตุผลที่ควรกินน้ำตาลให้น้อยลง
ผ่านวันวาเลนไทน์กันมาแล้ว กินช็อกโกแลตกันไปเยอะแค่ไหนแล้วเอ่ย!
แต่รู้หรือไม่ น้ำตาลทำให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย
หากเราลดการกินน้ำตาลลงได้ นอกจากจะทำให้น้ำหนักลดแน่ๆ แล้ว
ยังมีประโยชน์อื่นๆ อีกมากเลย มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง!
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว
จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่
แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร
ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
เบาหวาน กับ สมองเสื่อม สัมพันธ์กันไหมนะ?
"โรคเบาหวาน" และ "ภาวะสมองเสื่อม" เกี่ยวข้องกันไหม
ทั้งสองโรคมีอะไรที่เหมือนกันบ้าง
โรคเบาหวานเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ และภาวะสมองเสื่อมหรือไม่ อย่างไร
แล้วจะมีวิธีลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและภาวะสมองเสื่อมได้อย่างไรบ้าง
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 17: การพบจิตแพทย์
ถ้าคุณรู้สึกว่าตัวเองเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า...จนใช้ชีวิตลำบาก
อย่าเก็บไว้คนเดียว...
ไปขอคำปรึกษาจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตเวชเถอะ
แล้วหมอจิตเวชจะไปหาได้ที่ไหนล่ะ?
โรงพยาบาลแถวบ้านเราจะมีมั้ย
ค่ารักษาจะแพงมั้ย สิทธิการรักษาล่ะ จะใช้ได้มั้ย เราจะเบิกได้รึเปล่า?
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในรายการ “คุยกับอาจารย์หมอจิตเวชจุฬาฯ” ตอนที่ 17 เรื่อง “การพบจิตแพทย์”
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่
ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร
และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร
ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 16: ดูแลตัวเองอย่างไร…ให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักวิธีดูแลสุขภาพกายกันดีอยู่แล้ว...
แต่คุณรู้จักวิธีดูแล “สุขภาพจิต” บ้างหรือไม่?
จะดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
หรือหากคนใกล้ชิดของเราเป็นอยู่ เราควรดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย