โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน
Attention Please! สาวๆ หนุ่มๆ ที่ยังอายุไม่ถึง 30…
ยังทันนะจ๊ะที่จะเตรียมร่างกายให้มีมวลกระดูกสูงสุด เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคกระดูกพรุนในอนาคต
จะต้องทำอย่างไร มาฟังกันได้เลยยยย
แต่สำหรับผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนแล้ว เราก็มีวิธีการปฏิบัติตัว รวมทั้งวิธีการปรับสภาพแวดล้อมให้บ้านที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันมิให้เกิดกระดูกหักด้วยนาจา...
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 9: ค่ารักษาพยาบาล
โรคกระดูกพรุน เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง
หากเป็นแล้ว ก็ควรต้องรักษา มิฉะนั้นอาจเกิดความเสี่ยงกระดูกหักได้ง่าย
แล้วค่ารักษาพยาบาลล่ะ จะมากน้อยเพียงไร สิทธิการรักษาพยาบาลครอบคลุมหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน
หากทราบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน มีวิธีการรักษาอย่างไร สามารถใช้ยาเพื่อรักษาได้หรือไม่?
และระหว่างยากินกับยาฉีด อย่างไหนให้ผลดีกว่ากัน?
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 5: โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท
เชื่อว่าคุณคงเคยได้ยินชื่อ "โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท" กันใช่ไหม แต่รู้ไหมว่า ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงคือวัยหนุ่มสาว…ไม่ใช่กลุ่มผู้สูงอายุแต่อย่างใด!
ทำไมโรคนี้จึงเกิดกับคนวัยนี้ และหากเป็นแล้วจะรักษาได้อย่างไร?
ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท
โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาทคืออะไร มีอาการอย่างไร ใครเป็นผู้มีความเสี่ยง การรักษาต้องทำอย่างไร หากไม่ผ่าตัดจะรักษาหายได้หรือไม่
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา
เป้าหมายหลักของการรักษาโรคกระดูกพรุน ไม่ใช่การรักษาที่ตัวโรคเพียงอย่างเดียว
แต่เป็น “การป้องกันกระดูกหัก” จากกระดูกพรุน!
ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวอย่างไร ออกกำลังกายได้หรือไม่
และหากอยากตรวจวัดมวลกระดูก การตรวจเชื่อถือได้แค่ไหน
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน
น้ำหนักของร่างกายคนเรามีผลต่อโรคกระดูกพรุนอย่างไร
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมากกว่ากัน ระหว่างคนผอมกับคนอ้วน
หากสงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรตรวจอย่างไร
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 3: ปวดหลังต้องทำอย่างไร
หากปวดหลัง ต้องทำอย่างไร แค่สังเกตอาการและกินยาเพียงพอหรือไม่
ระหว่างยากินกับยาทาแก้ปวด ประเภทไหนให้ผลในการรักษาดีกว่ากัน
ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)
กระดูกหักเนื่องจากโรคกระดูกพรุนแตกต่างจากกระดูกหักธรรมดาอย่างไร
สามารถแก้ไขให้เหมือนเดิมได้หรือไม่
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย
เราทุกคนคงเคยผ่านอาการปวดหลังกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่ว่าสาเหตุของการปวดหลังนั้นจะเหมือนกันหรือไม่
แล้วอายุสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างไร
พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์