โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 3: วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้มีปัญหาข้อเข่า
ปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม ออกกำลังกายแล้วเจ็บเข่า ควรจะทำอย่างไร
จะยังออกกำลังกายได้อีกไหม
โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 5: “ผ่าทีละข้าง หรือสองข้างดี”
หากข้อเข่าเสื่อมทั้งสองข้าง ควรผ่าทีละข้าง หรือ พร้อมกันทั้งสองข้างดี จะมีความเสี่ยงหรือข้อจำกัดอะไรไหม
คุยกับหมอกระดูก เรื่อง “ปวดหลัง ตอนที่ 1: ปวดหลังเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง”
โอย ปวดหลังจังเลย...
ถ้าคุณเคยโอดโอยว่าปวดหลัง รู้หรือไม่ว่าคุณกำลังเป็นโรคสุดฮิต รองจากปวดศีรษะ!
มาดูกันว่า อาการปวดหลังเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง
พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 2
รศ.นพ.ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ จะมาบอกเล่าถึงวิธีการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมโดยละเอียด
โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 1
ปวดเข่า...โรคยอดฮิตในปัจจุบัน มาฟังเสียงจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ บอกเล่าถึงโรคข้อเข่าเสื่อม อาการ และการป้องกันโรค
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)
กระดูกหักเนื่องจากโรคกระดูกพรุนแตกต่างจากกระดูกหักธรรมดาอย่างไร
สามารถแก้ไขให้เหมือนเดิมได้หรือไม่
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1: นิยามของโรค / ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
โรคกระดูกพรุนคืออะไร ทำไมถึงเป็นภัยเงียบ? ใครคือผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง? ฟังคำตอบได้จากซีรีส์ "คุยกับคุณหมอกระดูก" เรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1"
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน
หากทราบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน มีวิธีการรักษาอย่างไร สามารถใช้ยาเพื่อรักษาได้หรือไม่?
และระหว่างยากินกับยาฉีด อย่างไหนให้ผลดีกว่ากัน?
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก
ฟังรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคกระดูกและข้อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บอกเล่าถึงอาการเจ็บข้อสะโพกของคนไทยว่ามีสาเหตุจากอะไรบ้าง และจะป้องกันอย่างไรไม่ให้ข้อสะโพกเสื่อม
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 9: ค่ารักษาพยาบาล
โรคกระดูกพรุน เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง
หากเป็นแล้ว ก็ควรต้องรักษา มิฉะนั้นอาจเกิดความเสี่ยงกระดูกหักได้ง่าย
แล้วค่ารักษาพยาบาลล่ะ จะมากน้อยเพียงไร สิทธิการรักษาพยาบาลครอบคลุมหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์