โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน
กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกับกระดูกส่วนใดบ้าง
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยง?
ทำไมกระดูกสะโพกหักจึงนำไปสู่การเสียชีวิตได้!?
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่
กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร
ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน
คุยกับหมอกระดูก เรื่อง “ปวดหลัง ตอนที่ 1: ปวดหลังเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง”
โอย ปวดหลังจังเลย...
ถ้าคุณเคยโอดโอยว่าปวดหลัง รู้หรือไม่ว่าคุณกำลังเป็นโรคสุดฮิต รองจากปวดศีรษะ!
มาดูกันว่า อาการปวดหลังเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง
พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 2: อาการของโรค / มวลกระดูกสูงสุด
ฟังคุณหมอพูดถึงอาการของโรคกระดูกพรุน และทำอย่างไรจึงจะมีมวลกระดูกสูงสุด
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1: นิยามของโรค / ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
โรคกระดูกพรุนคืออะไร ทำไมถึงเป็นภัยเงียบ? ใครคือผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง? ฟังคำตอบได้จากซีรีส์ "คุยกับคุณหมอกระดูก" เรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1"
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ตอนที่ 2
ฟังวิธีการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนข้อสะโพก วิธีการดูแลผู้ป่วยและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ตอนที่ 1
ข้อสะโพกที่ดีเป็นอย่างไร หากข้อสะโพกเสื่อม การผ่าตัดเพื่อรักษาอาการข้อสะโพกเสื่อมทำอย่างไร
ดูตัวอย่างโมเดลการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ที่นี่
คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก
ฟังรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคกระดูกและข้อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บอกเล่าถึงอาการเจ็บข้อสะโพกของคนไทยว่ามีสาเหตุจากอะไรบ้าง และจะป้องกันอย่างไรไม่ให้ข้อสะโพกเสื่อม
เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่
ฟังคุณหมอบอกเล่าถึง "เส้น" "กล้ามเนื้อ" และ อาการ "ปวดเรื้อรัง"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 5: “ผ่าทีละข้าง หรือสองข้างดี”
หากข้อเข่าเสื่อมทั้งสองข้าง ควรผ่าทีละข้าง หรือ พร้อมกันทั้งสองข้างดี จะมีความเสี่ยงหรือข้อจำกัดอะไรไหม