Home Health คุยกับหมอศัลยกรรม

คุยกับหมอศัลยกรรม

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 7: ใบหูเล็กแต่กำเนิด

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 7: ใบหูเล็กแต่กำเนิด

ภาวะใบหูเล็กแต่กำเนิด (Microtia) คืออะไร ผู้ป่วยจะมีลักษณะใบหูเป็นอย่างไร การผ่าตัดรักษาทำได้หรือไม่ อย่างไร พบกับ ผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 2 เรื่อง “ศัลยกรรมพลาสติก VS ศัลยกรรมความงาม”

คุณรู้จักศัลยกรรมพลาสติกดีแค่ไหน แน่ใจได้อย่างไรว่าศัลยแพทย์ที่คุณเลือกเพื่อเสริมความงามให้นั้น เป็นแพทย์ “เฉพาะทาง” อย่างแท้จริง
ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 4: วิธีรักษาโรคปากแหว่งเพดานโหว่

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 4: วิธีรักษาโรคปากแหว่งเพดานโหว่

การผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ควรทำเมื่อเด็กอายุเท่าไร

มารู้จักศัลยกรรมตกแต่งกันดีกว่า

เมื่อพูดถึงศัลยกรรมตกแต่ง หลายคนคงนึกถึงการทำศัลยกรรมเพื่อเสริมความงาม อาทิ การทำตาสองชั้น เสริมจมูก เสริมหน้าอก หรือดูดไขมัน เป็นต้น ลองมาฟังขอบข่ายงานศัลยกรรมตกแต่งที่หลายท่านยังนึกไม่ถึงกัน
ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 6: ค่าใช้จ่ายการผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ และความช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกล

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 6: ค่าใช้จ่ายการผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ และความช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกล

การผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ สามารถเบิกได้หรือไม่ มีหน่วยงานใดช่วยเหลือได้บ้าง และหากอยู่ในพื้นที่ห่างไกล จะไปรักษาที่ใดได้บ้าง ฟังคำแนะนำจากผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

หนึ่งในงานหลักของศัลยแพทย์ตกแต่ง คือ การผ่าตัดแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ ภาวะความพิการแต่กำเนิดนี้คืออะไร เราจะป้องกันการเกิดโรคนี้ได้หรือไม่
คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่สามารถตรวจพบได้โดยการอัลตราซาวนด์ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ แต่ถ้าไม่ทราบมาก่อน จะทำอย่างไร!?