Home Health คุยกับหมอหัวใจ

คุยกับหมอหัวใจ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 9: วิธีป้องกันตัวเองให้ห่างจากโรคหัวใจ

ไม่อยากเป็นโรคหัวใจ หรือหลอดเลือดหัวใจตีบ ต้องทำยังไง มีวิธีป้องกันตัวเองหรือไม่ กินอาหารเสริม หรือออกกำลังกายจะช่วยได้หรือไม่ โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 8: สิทธิการรักษา / สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในปัจจุบัน

หากต้องเข้ารับการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ เราจะใช้สิทธิการรักษาพยาบาลอะไรได้บ้าง? สิทธิของเราที่มีครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลมากน้อยแค่ไหน เราต้องจ่ายเงินเพิ่มหรือไม่? สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยเป็นอย่างไร? เราเป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือไม่? ถ้าปล่อยทิ้งไว้ ไม่เข้ารับการรักษา จะเกิดอะไรขึ้น!? โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่ แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส

ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่ ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง จะต้องผ่าตัดอย่างเดียวหรือไม่ หรือแค่กินยาก็เพียงพอแล้ว? มีวิธีรักษาอย่างอื่นอีกบ้างหรือไม่? พบกับวิทยากร ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ

ถ้าหากเราเข้าข่ายว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีวิธีการตรวจวินิจฉัยอย่างไรบ้าง ลักษณะการตรวจแต่ละวิธียุ่งยากหรือน่ากลัวไหม ลองมาฟังคุณหมออธิบายกันในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือน? แน่นหน้าอก ใจสั่น เป็นลมหมดสติ เข้าข่ายหรือไม่? เมื่อไรที่ควรไปพบแพทย์? ติดตามได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคหลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 2: สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 2: สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเกิดจากสาเหตุใด มีปัจจัยเสี่ยงจากอะไรได้บ้าง ภาวะไขมันในเลือดและความดันโลหิตสูงเกี่ยวข้องมากน้อยแค่ไหน การสูบบุหรี่มีส่วนทำให้เกิดโรคได้หรือไม่ พบกับ ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 1: หลอดเลือดหัวใจคืออะไร

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 1: หลอดเลือดหัวใจคืออะไร

ทำความรู้จักกับหลอดเลือดหัวใจ และหน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจกัน และหากมีไขมันอุดตันในหลอดเลือด จะเกิดอันตรายอย่างไรบ้าง พบกับ ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำมีอะไรบ้าง มีอันตรายหรือไม่ และมีข้อควรระวังอย่างไร หากมีความดันโลหิตต่ำ สามารถออกกำลังกายได้หรือไม่ ติดตามได้จากซีรีส์ “คุยกับหมอหัวใจ” ตอนที่ 8 “ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ