โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 3: วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้มีปัญหาข้อเข่า
ปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม ออกกำลังกายแล้วเจ็บเข่า ควรจะทำอย่างไร
จะยังออกกำลังกายได้อีกไหม
โรคที่ใช้ยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบ และข้อควรระวังสำหรับผู้ซื้อยากินเอง
เรามักเรียก “ยาปฏิชีวนะ” ว่า “ยาแก้อักเสบ” แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วเป็นยาคนละตัวกัน
ยาทั้งสองตัวนี้ใช้รักษาโรคที่เกิดจากอะไรบ้าง แตกต่างกันหรือไม่
และหากไปซื้อยารับประทานเองจะดีหรือไม่ดีอย่างไร จะปลอดภัยหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center
ดื่มอะไรดีที่ช่วยไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ
เรามักพักดื่มน้ำเมื่อต้องเสียเหงื่อจากการออกกำลังกาย แต่เมื่อสภาพอากาศร้อนขึ้น เรายิ่งต้องใส่ใจกับของเหลวที่จะรับเข้าสู่ร่างกายตลอดทั้งวัน เพราะน้ำคือสารอาหารที่จำเป็นที่สุดที่ร่างกายต้องการ
ถึงจะรู้กันดีว่าการดื่มน้ำแก้วโตเป็นวิธีดีที่สุดที่ทำให้ร่างกายไม่ขาดน้ำก็ตาม แต่ยังมีทางเลือกอื่น ๆ อีกมากหากคุณไม่ชอบรสชาติน้ำเปล่า
ความดันโลหิต ตอนที่ 2: ความดันโลหิตสูง
ค่าความดันโลหิตสูงอยู่ที่เท่าไร เกิดจากสาเหตุใด ติดตามได้จากซีรีส์ "คุณหมออิงอร" ตอนที่ 2 เรื่อง: ความดันโลหิตสูง วิทยากร: ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ประจำศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่
กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร
ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 3: ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลต่อร่างกายและจิตใจอย่างไร
ความเครียดและความวิตกกังวลคืออะไร จะส่งผลตอบสนองต่อร่างกายและจิตใจแค่ไหน และก่อให้เกิดโรคอื่นได้อีกหรือไม่
เผย…6 สัญญาณโรคหัวใจที่ไม่ควรมองข้าม
คนส่วนใหญ่มักคิดว่า ปัญหาเรื่องเพศ นอนกรน และเลือดออกตามไรฟัน เป็นปัญหาสุขภาพระดับรองๆ จึงมักมองข้ามปัญหาเหล่านี้ไป อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ดูเหมือนไม่สำคัญเหล่านี้กลับเป็นอาการที่พบได้ของโรคหัวใจ..เพชฌฆาตเบอร์หนึ่งของโลก!
เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่
ฟังคุณหมอบอกเล่าถึง "เส้น" "กล้ามเนื้อ" และ อาการ "ปวดเรื้อรัง"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7 สัญญาณเตือนภัยที่บอกว่าคุณนอนไม่พอ
ปัจจุบันทั้งการทำงานและสังคมที่ไม่หยุดนิ่ง ตลอดจนการสื่อสารแบบดิจิทัลที่มาแรงแซงโค้งล่อใจจนทำให้คุณต้องโกงเวลานอนของตัวเองลง แต่ทราบหรือไม่ว่า การนอนคือกลไกขับเคลื่อนที่สำคัญต่อทุกระบบสรีระในร่างกายมนุษย์ ดังนั้น เมื่อเวลานอนถูกลิดรอนลงไป ปัญหาสุขภาพต่างๆ อาจมาเยือน และทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลงได้
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ
ถ้าหากเราเข้าข่ายว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีวิธีการตรวจวินิจฉัยอย่างไรบ้าง
ลักษณะการตรวจแต่ละวิธียุ่งยากหรือน่ากลัวไหม
ลองมาฟังคุณหมออธิบายกันในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ