หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
จะต้องผ่าตัดอย่างเดียวหรือไม่ หรือแค่กินยาก็เพียงพอแล้ว? มีวิธีรักษาอย่างอื่นอีกบ้างหรือไม่?
พบกับวิทยากร ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 15: เมื่อคนที่ฉันรัก…จากไป
เชื่อว่าเราทุกคนคงต้องเคยประสบกับความสูญเสียมาบ้างแล้ว...ไม่ว่าจะเป็นญาติพี่น้อง เพื่อน คนรัก หรือคนใกล้ชิด
ควรจะทำอย่างไรเพื่อให้เรารับมือกับ “ความเศร้าโศก” นั้นได้
และจะดูแลผู้ที่เคยเป็นโรค “ซึมเศร้า” มาก่อนให้รับมือกับความสูญเสียได้อย่างไร
พบกับรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน
Attention Please! สาวๆ หนุ่มๆ ที่ยังอายุไม่ถึง 30…
ยังทันนะจ๊ะที่จะเตรียมร่างกายให้มีมวลกระดูกสูงสุด เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคกระดูกพรุนในอนาคต
จะต้องทำอย่างไร มาฟังกันได้เลยยยย
แต่สำหรับผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนแล้ว เราก็มีวิธีการปฏิบัติตัว รวมทั้งวิธีการปรับสภาพแวดล้อมให้บ้านที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันมิให้เกิดกระดูกหักด้วยนาจา...
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 14: เมื่อเพื่อนส่งสัญญาณว่าอยากตาย
เราจะรู้หรือสังเกตได้อย่างไรว่าเพื่อนหรือคนรู้จักของคุณมีความคิดอยากฆ่าตัวตายหรือทำร้ายตนเอง
มาทำความรู้จักสัญญาณบอกเหตุดังกล่าวกันดีกว่า
พร้อมกับรับฟังคำแนะนำจากคุณหมอด้วยว่า คุณควรทำตัวอย่างไรกับเพื่อนที่คิดอย่างนั้น...
พบกับวิทยากร รศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ
ถ้าหากเราเข้าข่ายว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีวิธีการตรวจวินิจฉัยอย่างไรบ้าง
ลักษณะการตรวจแต่ละวิธียุ่งยากหรือน่ากลัวไหม
ลองมาฟังคุณหมออธิบายกันในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 9: ค่ารักษาพยาบาล
โรคกระดูกพรุน เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง
หากเป็นแล้ว ก็ควรต้องรักษา มิฉะนั้นอาจเกิดความเสี่ยงกระดูกหักได้ง่าย
แล้วค่ารักษาพยาบาลล่ะ จะมากน้อยเพียงไร สิทธิการรักษาพยาบาลครอบคลุมหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5 สิ่งที่คุณควรหลีกเลี่ยงเวลาท้องว่าง
คุณทำอะไรได้หลายอย่างในขณะท้องว่าง ตัวอย่างเช่น การนอนตอนท้องว่างนั้นดีที่สุด การเข้านอนขณะท้องอิ่มทำให้ร่างกายเก็บแคลอรีส่วนเกินเป็นไขมัน เพราะเราใช้พลังงานเพียงเล็กน้อยขณะนอนหลับ
แต่รู้หรือไม่ มีบางอย่างที่คุณควรหลีกเลี่ยงขณะท้องว่างนะ มีอะไรกันบ้าง ไปดูกันเลย!
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 13: “ถ้าฉันอยากตาย…”
“เบื่อ” “เครียด” “อยากตาย” “ไม่อยากอยู่แล้ว...”
หากคุณรู้สึกแบบนี้ขึ้นมาจริงๆ จะทำอย่างไร?
หรือหากมีคนใกล้ชิดคุณมาพูดแบบนี้ให้ฟัง คุณควรจะทำอย่างไร
แต่ถ้าเขาเก็บเงียบ ไม่บอกออกมาล่ะ คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าคนรอบตัวคุณนั้นมีความคิดอย่างนี้
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน
หากทราบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน มีวิธีการรักษาอย่างไร สามารถใช้ยาเพื่อรักษาได้หรือไม่?
และระหว่างยากินกับยาฉีด อย่างไหนให้ผลดีกว่ากัน?
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
อาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือน? แน่นหน้าอก ใจสั่น เป็นลมหมดสติ เข้าข่ายหรือไม่?
เมื่อไรที่ควรไปพบแพทย์?
ติดตามได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ