โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน
น้ำหนักของร่างกายคนเรามีผลต่อโรคกระดูกพรุนอย่างไร
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมากกว่ากัน ระหว่างคนผอมกับคนอ้วน
หากสงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรตรวจอย่างไร
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 3: ปวดหลังต้องทำอย่างไร
หากปวดหลัง ต้องทำอย่างไร แค่สังเกตอาการและกินยาเพียงพอหรือไม่
ระหว่างยากินกับยาทาแก้ปวด ประเภทไหนให้ผลในการรักษาดีกว่ากัน
ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 10: โรคการกินผิดปกติ (Eating Disorders)
โรคการกินผิดปกติ หรือ Eating Disorders คืออะไร
มักเกิดกับผู้ป่วยในวัยใด
มีลักษณะหรืออาการอย่างไร
พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 1: หลอดเลือดหัวใจคืออะไร
ทำความรู้จักกับหลอดเลือดหัวใจ และหน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจกัน และหากมีไขมันอุดตันในหลอดเลือด จะเกิดอันตรายอย่างไรบ้าง
พบกับ ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
อันตรายของยาลดความอ้วน
"ยาลดความอ้วน" มีจริงหรือไม่
ใช้แล้วได้ผลดีหรือมีอันตรายกันแน่
ยาลดความอ้วนที่ขายกันแพร่หลายในอินเทอร์เน็ตใช้ได้ผลจริงหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)
กระดูกหักเนื่องจากโรคกระดูกพรุนแตกต่างจากกระดูกหักธรรมดาอย่างไร
สามารถแก้ไขให้เหมือนเดิมได้หรือไม่
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ
ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำมีอะไรบ้าง มีอันตรายหรือไม่
และมีข้อควรระวังอย่างไร
หากมีความดันโลหิตต่ำ สามารถออกกำลังกายได้หรือไม่
ติดตามได้จากซีรีส์ “คุยกับหมอหัวใจ” ตอนที่ 8 “ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 7: ใบหูเล็กแต่กำเนิด
ภาวะใบหูเล็กแต่กำเนิด (Microtia) คืออะไร ผู้ป่วยจะมีลักษณะใบหูเป็นอย่างไร
การผ่าตัดรักษาทำได้หรือไม่ อย่างไร
พบกับ ผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี
จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 6: ค่าใช้จ่ายการผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ และความช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกล
การผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ สามารถเบิกได้หรือไม่
มีหน่วยงานใดช่วยเหลือได้บ้าง
และหากอยู่ในพื้นที่ห่างไกล จะไปรักษาที่ใดได้บ้าง
ฟังคำแนะนำจากผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี
จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคที่ใช้ยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบ และข้อควรระวังสำหรับผู้ซื้อยากินเอง
เรามักเรียก “ยาปฏิชีวนะ” ว่า “ยาแก้อักเสบ” แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วเป็นยาคนละตัวกัน
ยาทั้งสองตัวนี้ใช้รักษาโรคที่เกิดจากอะไรบ้าง แตกต่างกันหรือไม่
และหากไปซื้อยารับประทานเองจะดีหรือไม่ดีอย่างไร จะปลอดภัยหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center