ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

เราทุกคนคงเคยผ่านอาการปวดหลังกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่ว่าสาเหตุของการปวดหลังนั้นจะเหมือนกันหรือไม่ แล้วอายุสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างไร พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 9: ประสาทหลอน (Hallucination)

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 9: ประสาทหลอน (Hallucination)

หูแว่ว...ได้ยินเสียง แต่ไม่มีต้นตอของเสียง เห็นภาพ...อะไรบางอย่าง ทั้งที่ไม่มีอะไรตรงหน้า ได้กลิ่น...แบบที่คนอื่นไม่ได้กลิ่น.. รับรส...แปลกๆ..ไม่เหมือนชาวบ้าน สัมผัส...เหมือนมีตัวอะไรไต่ตามร่างกาย...บรึยสสสส์ นี่คืออาการของการ "หลอน" หรือ "Hallucination"! ซึ่งมีสาเหตุได้หลายประการ...โรคทางจิตเวชก็เป็นสาเหตุหนึ่งในนั้น! พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

ปัจจุบัน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ใหญ่ชาวอเมริกันทั้งหมด คือ 117 ล้านคน เป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หนึ่งโรคขึ้นไป ซึ่งหลายโรคเกี่ยวข้องกับรูปแบบการกินอาหารที่มีคุณภาพต่ำและการไม่ออกกำลังกาย รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงกำหนดแนวทางใหม่ด้านโภชนาการเมื่อเดือนมกราคม ปี 2016 มีอะไรกันบ้าง มาดูกันเลย!
หยิบหนังสือขึ้นมาสิ แล้วคุณจะอายุยืน

หยิบหนังสือขึ้นมาสิ แล้วคุณจะอายุยืน

คุณกำลังหาวิธีทำให้อายุยืนโดยไม่ต้องงดรับประทานของโปรดใช่ไหม เพียงแค่นั่งลงอ่านหนังสือดีๆ สักเล่ม คุณก็ได้แตะน้ำพุแห่งเยาว์วัยเข้าแล้ว นักวิจัยจากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเยล ทำวิจัยเพราะต้องการเข้าใจว่าการอ่านหนังสือส่งผลดีต่อสุขภาพบ้างหรือไม่ เรารู้กันอยู่แล้วว่าการอ่านส่งผลดีต่อจิตใจ ช่วยกระตุ้นการส่งสัญญาณของเซลล์ประสาทในสมอง ยังไม่รวมถึงช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้แข็งแรงขึ้น แต่นักวิจัยต้องการทราบว่า การอ่านช่วยให้สุขภาพกายดีขึ้นด้วยหรือไม่
สีปัสสาวะนั้นสำคัญไฉน!?

สีปัสสาวะนั้นสำคัญไฉน!?

รู้ไหมว่าสิ่งที่เห็นในโถชักโครกเป็นเหมือนลูกแก้ววิเศษที่บอกภาวะสุขภาพได้ สีปัสสาวะอาจเปลี่ยนไปได้ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำในร่างกาย อาหารที่คุณรับประทาน หรือเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางตัว ต่อไปนี้คือสิ่งที่สีปัสสาวะบอกเกี่ยวกับสุขภาพของคุณและแบบไหนที่เริ่มเป็นสัญญาณอันตราย!
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน

กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกับกระดูกส่วนใดบ้าง ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยง? ทำไมกระดูกสะโพกหักจึงนำไปสู่การเสียชีวิตได้!?
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)

Schizophrenia หรือภาษาไทยเรียกว่า “จิตเภท” เป็นโรคทางจิตเวชซึ่งพบได้บ่อยขนาดที่ว่าใน 100 คน พบผู้ป่วยจิตเภทได้ 1 คน โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไรบ้าง รักษาได้หรือไม่ และหากคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคจิตเภท จะมีวิธีชักชวนให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์ได้อย่างไร
ควรกิน/ดื่มอะไรไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ (ที่ไม่ใช่ดื่มน้ำ)

ดื่มอะไรดีที่ช่วยไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ

เรามักพักดื่มน้ำเมื่อต้องเสียเหงื่อจากการออกกำลังกาย แต่เมื่อสภาพอากาศร้อนขึ้น เรายิ่งต้องใส่ใจกับของเหลวที่จะรับเข้าสู่ร่างกายตลอดทั้งวัน เพราะน้ำคือสารอาหารที่จำเป็นที่สุดที่ร่างกายต้องการ ถึงจะรู้กันดีว่าการดื่มน้ำแก้วโตเป็นวิธีดีที่สุดที่ทำให้ร่างกายไม่ขาดน้ำก็ตาม แต่ยังมีทางเลือกอื่น ๆ อีกมากหากคุณไม่ชอบรสชาติน้ำเปล่า
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่ กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน

แบคทีเรียและไวรัส (ต่อ) / ความแตกต่างระหว่างยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบ

การรักษาโรคที่เกิดจากแบคทีเรียและไวรัสทำอย่างไร ควรใช้ยาตัวไหน และยาปฏิชีวนะกับยาแก้อักเสบแตกต่างกันอย่างไร ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center