หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่
ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร
และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร
ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
วิธีแนะนำทารกให้กับแมวและสุนัข
แม่แมว พ่อแมว หรือแม่หมา พ่อหมาทั้งหลายเอ๋ย เคยนึกบ้างหรือไม่ว่าหากคุณมีลูกตัวน้อยขึ้นมาละก็ เจ้านายหมาแมวของคุณจะเป็นยังไง จะต้อนรับหรือรักเจ้าตัวน้อยของคุณเหมือนที่มันรักคุณหรือไม่!?
ที่สำคัญกว่านั้นคือคุณจะบอกมันยังไงว่าต่อนี้ไปจะมี “สมาชิกใหม่” มาอยู่ด้วยกับมันแล้วนะ
ลองมาดูวิธีเหล่านี้กันดีกว่า เพื่อให้สัตว์เลี้ยง เอ้ย เจ้านายหมาแมวอยู่ร่วมกับลูกตัวน้อยๆ ของคุณได้อย่างแฮปปี้เอ็นดิ้ง!
การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ตอนที่ 7: สื่อที่ใช้สอนภาษามีอะไรบ้าง
เวลาชาวต่างชาติเรียนภาษาไทย สื่อที่ใช้ในการสอนภาษาไทยมีอะไรบ้าง
เหมือนที่เราคนไทยเรียนกันบ้างไหม
แล้วฝรั่งเขาจะอ่านหนังสือพิมพ์ ดูข่าว ดูละครโทรทัศน์แบบเราได้มั้ยนะ
มาฟัง“ครูหนุ่ย”คุณครูผู้สอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ
วิทยากรคนเก่งของเรา จาก ศุมา สถาบันภาษาและวัฒนธรรมกันดีกว่า
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 16: ดูแลตัวเองอย่างไร…ให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักวิธีดูแลสุขภาพกายกันดีอยู่แล้ว...
แต่คุณรู้จักวิธีดูแล “สุขภาพจิต” บ้างหรือไม่?
จะดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
หรือหากคนใกล้ชิดของเราเป็นอยู่ เราควรดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 2: โปรโตซัวคืออะไร
เราคงเคยได้ยินคำว่า “โปรโตซัว” กันมาบ้าง แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วโปรโตซัวคืออะไร? สามารถก่อโรคหรือทำอันตรายให้เราได้มากน้อยแค่ไหน!? มาทำความรู้จักกับเจ้าสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กชนิดนี้กัน
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 9: รูปและเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
รูปและเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
เรื่อง “วรรณยุกต์” ใครว่ายาก...
มาเรียนภาษาไทยในมุมมองใหม่กับเราสิ
เข้าใจง่ายขนาดนี้ จะหาได้ที่ไหนอีก!!
ป๋อม นรินทร์: ‘The Voice’ Behind Beautiful Songs ตอนที่ 12: ข้อดีของการรู้ภาษาที่สามที่มีต่อการแปลเพลง
นอกจากภาษาแม่ และภาษาที่สองแล้ว หากนักแปลรู้ “ภาษาที่สาม” จะมีประโยชน์มากขึ้นหรือไม่?
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับการ “แปลเพลง”
และ “นักแปลที่ดี” ควรมีลักษณะอย่างไร?
ฟังคุณ "ป๋อม นรินทร์" ผู้ถ่ายทอดเพลงจากละครเวทีเรื่อง The Sound of Music สู่บทเพลงไทยอันไพเราะ พูดถึงมุมมองเพิ่มเติม หากเรารู้ “ภาษาที่สาม” รวมถึงคุณสมบัติที่นักแปลควรมีกัน
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
จะต้องผ่าตัดอย่างเดียวหรือไม่ หรือแค่กินยาก็เพียงพอแล้ว? มีวิธีรักษาอย่างอื่นอีกบ้างหรือไม่?
พบกับวิทยากร ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร
บนโลกใบใหญ่นี้ มีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด หลากหลายสายพันธุ์ นับกันไม่ถ้วน
คุณอาจรู้จักสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่อย่างช้าง เสือ ปลาวาฬ...
แต่กับสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อีกหลายชนิดที่เรามองเห็นแต่อาจไม่รู้จัก หรือบางชนิดอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นนั้น
เรารู้จักเพื่อนร่วมโลกเหล่านี้มากน้อยเพียงไร
มาทำความรู้จักกับ “ปรสิต” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่คนทั่วไปอาจจะเรียกว่า “พยาธิ” กัน
พยาธิคืออะไร? ทำไมต้องอยู่อาศัยในร่างกายของเราด้วยนะ!?
ในรายการ “ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร”
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 15: เมื่อคนที่ฉันรัก…จากไป
เชื่อว่าเราทุกคนคงต้องเคยประสบกับความสูญเสียมาบ้างแล้ว...ไม่ว่าจะเป็นญาติพี่น้อง เพื่อน คนรัก หรือคนใกล้ชิด
ควรจะทำอย่างไรเพื่อให้เรารับมือกับ “ความเศร้าโศก” นั้นได้
และจะดูแลผู้ที่เคยเป็นโรค “ซึมเศร้า” มาก่อนให้รับมือกับความสูญเสียได้อย่างไร
พบกับรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย