Tag: การแพทย์
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 4: จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต หรือ "ติดพยาธิ" เข้าแล้ว
จะมีอาการอย่างไรที่จะทำให้รู้ได้ว่าเป็นโรคพยาธิ
ปวดท้อง ท้องเสีย เกี่ยวไหม
ซีด หรือ โลหิตจางล่ะ ใช่รึเปล่า
ถ้าหากว่าติดพยาธิจริงๆ แล้วละก็ เราลองมาดูการเดินทางของเจ้าพยาธิในร่างกายเรากันดีกว่าว่ามันจะเดินทางไปไหน และจะทำให้เราเจ็บป่วยอะไรได้บ้าง
พบกับวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว
จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่
แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร
ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 3: ปรสิตเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง
เราคงพอรู้จัก “พยาธิ” หรือ “ปรสิต” กันมาบ้างแล้วใช่มั้ย
แต่รู้หรือไม่ว่า เจ้าสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้แอบเข้ามาอาศัยอยู่ในร่างกายของคนเราได้ด้วยวิธีไหน
ใช่อาหารที่เรากินหรือไม่!?
แล้วในอากาศที่เราหายใจล่ะ จะมีพยาธิมั้ย!?
ติดตามชมจากวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 17: การพบจิตแพทย์
ถ้าคุณรู้สึกว่าตัวเองเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า...จนใช้ชีวิตลำบาก
อย่าเก็บไว้คนเดียว...
ไปขอคำปรึกษาจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตเวชเถอะ
แล้วหมอจิตเวชจะไปหาได้ที่ไหนล่ะ?
โรงพยาบาลแถวบ้านเราจะมีมั้ย
ค่ารักษาจะแพงมั้ย สิทธิการรักษาล่ะ จะใช้ได้มั้ย เราจะเบิกได้รึเปล่า?
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในรายการ “คุยกับอาจารย์หมอจิตเวชจุฬาฯ” ตอนที่ 17 เรื่อง “การพบจิตแพทย์”
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่
ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร
และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร
ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 16: ดูแลตัวเองอย่างไร…ให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักวิธีดูแลสุขภาพกายกันดีอยู่แล้ว...
แต่คุณรู้จักวิธีดูแล “สุขภาพจิต” บ้างหรือไม่?
จะดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช
หรือหากคนใกล้ชิดของเราเป็นอยู่ เราควรดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 2: โปรโตซัวคืออะไร
เราคงเคยได้ยินคำว่า “โปรโตซัว” กันมาบ้าง แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วโปรโตซัวคืออะไร? สามารถก่อโรคหรือทำอันตรายให้เราได้มากน้อยแค่ไหน!? มาทำความรู้จักกับเจ้าสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กชนิดนี้กัน
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
จะต้องผ่าตัดอย่างเดียวหรือไม่ หรือแค่กินยาก็เพียงพอแล้ว? มีวิธีรักษาอย่างอื่นอีกบ้างหรือไม่?
พบกับวิทยากร ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร
บนโลกใบใหญ่นี้ มีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด หลากหลายสายพันธุ์ นับกันไม่ถ้วน
คุณอาจรู้จักสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่อย่างช้าง เสือ ปลาวาฬ...
แต่กับสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อีกหลายชนิดที่เรามองเห็นแต่อาจไม่รู้จัก หรือบางชนิดอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นนั้น
เรารู้จักเพื่อนร่วมโลกเหล่านี้มากน้อยเพียงไร
มาทำความรู้จักกับ “ปรสิต” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่คนทั่วไปอาจจะเรียกว่า “พยาธิ” กัน
พยาธิคืออะไร? ทำไมต้องอยู่อาศัยในร่างกายของเราด้วยนะ!?
ในรายการ “ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร”
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 15: เมื่อคนที่ฉันรัก…จากไป
เชื่อว่าเราทุกคนคงต้องเคยประสบกับความสูญเสียมาบ้างแล้ว...ไม่ว่าจะเป็นญาติพี่น้อง เพื่อน คนรัก หรือคนใกล้ชิด
ควรจะทำอย่างไรเพื่อให้เรารับมือกับ “ความเศร้าโศก” นั้นได้
และจะดูแลผู้ที่เคยเป็นโรค “ซึมเศร้า” มาก่อนให้รับมือกับความสูญเสียได้อย่างไร
พบกับรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย