Tag: ผู้สูงอายุ
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน
Attention Please! สาวๆ หนุ่มๆ ที่ยังอายุไม่ถึง 30…
ยังทันนะจ๊ะที่จะเตรียมร่างกายให้มีมวลกระดูกสูงสุด เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคกระดูกพรุนในอนาคต
จะต้องทำอย่างไร มาฟังกันได้เลยยยย
แต่สำหรับผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนแล้ว เราก็มีวิธีการปฏิบัติตัว รวมทั้งวิธีการปรับสภาพแวดล้อมให้บ้านที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันมิให้เกิดกระดูกหักด้วยนาจา...
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 10: เตรียมตัวอย่างไรไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 9: ค่ารักษาพยาบาล
โรคกระดูกพรุน เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง
หากเป็นแล้ว ก็ควรต้องรักษา มิฉะนั้นอาจเกิดความเสี่ยงกระดูกหักได้ง่าย
แล้วค่ารักษาพยาบาลล่ะ จะมากน้อยเพียงไร สิทธิการรักษาพยาบาลครอบคลุมหรือไม่
ฟังคำตอบได้จากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน
หากทราบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน มีวิธีการรักษาอย่างไร สามารถใช้ยาเพื่อรักษาได้หรือไม่?
และระหว่างยากินกับยาฉีด อย่างไหนให้ผลดีกว่ากัน?
"คุยกับหมอกระดูก" วันนี้เสนอเรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 8: ยารักษาโรคกระดูกพรุน"
โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท
โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาทคืออะไร มีอาการอย่างไร ใครเป็นผู้มีความเสี่ยง การรักษาต้องทำอย่างไร หากไม่ผ่าตัดจะรักษาหายได้หรือไม่
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา
เป้าหมายหลักของการรักษาโรคกระดูกพรุน ไม่ใช่การรักษาที่ตัวโรคเพียงอย่างเดียว
แต่เป็น “การป้องกันกระดูกหัก” จากกระดูกพรุน!
ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวอย่างไร ออกกำลังกายได้หรือไม่
และหากอยากตรวจวัดมวลกระดูก การตรวจเชื่อถือได้แค่ไหน
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน
น้ำหนักของร่างกายคนเรามีผลต่อโรคกระดูกพรุนอย่างไร
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมากกว่ากัน ระหว่างคนผอมกับคนอ้วน
หากสงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรตรวจอย่างไร
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)
กระดูกหักเนื่องจากโรคกระดูกพรุนแตกต่างจากกระดูกหักธรรมดาอย่างไร
สามารถแก้ไขให้เหมือนเดิมได้หรือไม่
พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ
ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำมีอะไรบ้าง มีอันตรายหรือไม่
และมีข้อควรระวังอย่างไร
หากมีความดันโลหิตต่ำ สามารถออกกำลังกายได้หรือไม่
ติดตามได้จากซีรีส์ “คุยกับหมอหัวใจ” ตอนที่ 8 “ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
คนไทยปัจจุบัน น่าเป็นห่วงอนาคต
ในประเทศไทยปัจจุบันมีประชากร 65.9 ล้านคน เป็นชาย 32.1 ล้านคน (49%) หญิง 33.4 ล้านคน (51%) มีสัญชาติไทย 62.3 ล้านคน ไม่มีสัญชาติไทย 3.2 ล้านคน อายุ 15 ปี ขึ้นไปมี 55.83 ล้านคน อยู่ในกำลังแรงงาน 38.3 ล้านคน โดยที่ 37.6 ล้านคนมีงานทำ อีก 4.3 แสนคนว่างงาน ส่วนที่อยู่นอกกำลังแรงงานหรือผู้ไม่พร้อมทำงานมี 17.45 ล้านคน ได้แก่ แม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา คนชรา เป็นต้น
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน
กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกับกระดูกส่วนใดบ้าง
ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยง?
ทำไมกระดูกสะโพกหักจึงนำไปสู่การเสียชีวิตได้!?