Tag: สุขภาพ
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 8: สิทธิการรักษา / สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในปัจจุบัน
หากต้องเข้ารับการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ เราจะใช้สิทธิการรักษาพยาบาลอะไรได้บ้าง?
สิทธิของเราที่มีครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลมากน้อยแค่ไหน เราต้องจ่ายเงินเพิ่มหรือไม่?
สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยเป็นอย่างไร?
เราเป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือไม่?
ถ้าปล่อยทิ้งไว้ ไม่เข้ารับการรักษา จะเกิดอะไรขึ้น!?
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 5: ปรสิตในอาหาร!?
พี่น้องฮะ! รู้หรือไม่ว่าอาหารพื้นบ้านแบบที่ชาวเราชอบกินกันมีความเสี่ยงหรือไม่!?
เสี่ยงอะไรน่ะเหรอฮะ?
ก็พยาธิ...ยังไงล่ะ!!! ทั้งพยาธิตืดวัว พยาธิตืดหมู พยาธิใบไม้ในตับ พยาธิใบไม้ในปอด เรียงแถวกันเข้ามาเลยยยย..
อะจึ๋ย! อาหารอะไรกันล่ะที่จะมีพยาธิดึ๋ยๆ ดึ้บๆ อยู่ในนั้น?
ปลาร้า ปลาส้ม ลาบ ก้อย แหนม ปูน้ำตก กุ้งฝอย แซ่บอีหลีแบบนี้ เข้าข่ายรึเปล่าเนี่ย!?
ก็บีบมะนาวแล้ว เนื้อขาวหมดแล้ว มันสุกแล้วไม่ใช่เหรอ?
มาดูกันเลยดีกว่าว่าที่เรียกว่า “สุกเพราะบีบมะนาว” นั้น มัน “สุก” แล้วจริงหรือไม่
โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies): 13 คำถามควรรู้!
เข้าหน้าร้อนอีกแล้ว ต้องระวังโรคที่สำคัญที่สุดที่มักจะระบาดกันในช่วงร้อนๆ แบบนี้กันด้วย
นั่นคือ...โรคพิษสุนัขบ้า!
และอย่าเพิ่งคิดว่า ไม่เป็นไร เดี๋ยวหมดหน้าร้อนเมื่อไหร่ก็หายห่วงได้หรอกนะ...
เพราะจริงๆ แล้วโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคเรบีส์สามารถเป็นได้ทุกฤดูกาล
ที่สำคัญ...หากได้รับเชื้อแล้วไม่ได้รับการรักษา จนกระทั่งแสดงอาการ ผู้ป่วยมักเสียชีวิตทุกราย!!!
ถ้าอย่างนั้น โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากอะไร และเราจะป้องกันได้หรือไม่
มาทำความรู้จักโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคเรบีส์ (Rabies) นี้กันอย่างละเอียดดีกว่า
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 4: จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต หรือ "ติดพยาธิ" เข้าแล้ว
จะมีอาการอย่างไรที่จะทำให้รู้ได้ว่าเป็นโรคพยาธิ
ปวดท้อง ท้องเสีย เกี่ยวไหม
ซีด หรือ โลหิตจางล่ะ ใช่รึเปล่า
ถ้าหากว่าติดพยาธิจริงๆ แล้วละก็ เราลองมาดูการเดินทางของเจ้าพยาธิในร่างกายเรากันดีกว่าว่ามันจะเดินทางไปไหน และจะทำให้เราเจ็บป่วยอะไรได้บ้าง
พบกับวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9 เหตุผลที่ควรกินน้ำตาลให้น้อยลง
ผ่านวันวาเลนไทน์กันมาแล้ว กินช็อกโกแลตกันไปเยอะแค่ไหนแล้วเอ่ย!
แต่รู้หรือไม่ น้ำตาลทำให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย
หากเราลดการกินน้ำตาลลงได้ นอกจากจะทำให้น้ำหนักลดแน่ๆ แล้ว
ยังมีประโยชน์อื่นๆ อีกมากเลย มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง!
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว
จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่
แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร
ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
เบาหวาน กับ สมองเสื่อม สัมพันธ์กันไหมนะ?
"โรคเบาหวาน" และ "ภาวะสมองเสื่อม" เกี่ยวข้องกันไหม
ทั้งสองโรคมีอะไรที่เหมือนกันบ้าง
โรคเบาหวานเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ และภาวะสมองเสื่อมหรือไม่ อย่างไร
แล้วจะมีวิธีลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและภาวะสมองเสื่อมได้อย่างไรบ้าง
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 3: ปรสิตเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง
เราคงพอรู้จัก “พยาธิ” หรือ “ปรสิต” กันมาบ้างแล้วใช่มั้ย
แต่รู้หรือไม่ว่า เจ้าสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้แอบเข้ามาอาศัยอยู่ในร่างกายของคนเราได้ด้วยวิธีไหน
ใช่อาหารที่เรากินหรือไม่!?
แล้วในอากาศที่เราหายใจล่ะ จะมีพยาธิมั้ย!?
ติดตามชมจากวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 17: การพบจิตแพทย์
ถ้าคุณรู้สึกว่าตัวเองเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า...จนใช้ชีวิตลำบาก
อย่าเก็บไว้คนเดียว...
ไปขอคำปรึกษาจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตเวชเถอะ
แล้วหมอจิตเวชจะไปหาได้ที่ไหนล่ะ?
โรงพยาบาลแถวบ้านเราจะมีมั้ย
ค่ารักษาจะแพงมั้ย สิทธิการรักษาล่ะ จะใช้ได้มั้ย เราจะเบิกได้รึเปล่า?
ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในรายการ “คุยกับอาจารย์หมอจิตเวชจุฬาฯ” ตอนที่ 17 เรื่อง “การพบจิตแพทย์”
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส
ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง
การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่
ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร
และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร
ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ”
เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ