Home Tags สุขภาพ

Tag: สุขภาพ

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 7: ใบหูเล็กแต่กำเนิด

ภาวะใบหูเล็กแต่กำเนิด (Microtia) คืออะไร ผู้ป่วยจะมีลักษณะใบหูเป็นอย่างไร การผ่าตัดรักษาทำได้หรือไม่ อย่างไร พบกับ ผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 6: ค่าใช้จ่ายการผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ และความช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกล

การผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ สามารถเบิกได้หรือไม่ มีหน่วยงานใดช่วยเหลือได้บ้าง และหากอยู่ในพื้นที่ห่างไกล จะไปรักษาที่ใดได้บ้าง ฟังคำแนะนำจากผศ.นพ.ทพ. พรเทพ พึ่งรัศมี จากหน่วยศัลยกรรมตกแต่งและเสริมสร้าง ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรคที่ใช้ยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบ และข้อควรระวังสำหรับผู้ซื้อยากินเอง

เรามักเรียก “ยาปฏิชีวนะ” ว่า “ยาแก้อักเสบ” แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วเป็นยาคนละตัวกัน ยาทั้งสองตัวนี้ใช้รักษาโรคที่เกิดจากอะไรบ้าง แตกต่างกันหรือไม่ และหากไปซื้อยารับประทานเองจะดีหรือไม่ดีอย่างไร จะปลอดภัยหรือไม่ ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center

ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

เราทุกคนคงเคยผ่านอาการปวดหลังกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่ว่าสาเหตุของการปวดหลังนั้นจะเหมือนกันหรือไม่ แล้วอายุสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างไร พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 9: ประสาทหลอน (Hallucination)

หูแว่ว...ได้ยินเสียง แต่ไม่มีต้นตอของเสียง เห็นภาพ...อะไรบางอย่าง ทั้งที่ไม่มีอะไรตรงหน้า ได้กลิ่น...แบบที่คนอื่นไม่ได้กลิ่น.. รับรส...แปลกๆ..ไม่เหมือนชาวบ้าน สัมผัส...เหมือนมีตัวอะไรไต่ตามร่างกาย...บรึยสสสส์ นี่คืออาการของการ "หลอน" หรือ "Hallucination"! ซึ่งมีสาเหตุได้หลายประการ...โรคทางจิตเวชก็เป็นสาเหตุหนึ่งในนั้น! พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

ปัจจุบัน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ใหญ่ชาวอเมริกันทั้งหมด คือ 117 ล้านคน เป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หนึ่งโรคขึ้นไป ซึ่งหลายโรคเกี่ยวข้องกับรูปแบบการกินอาหารที่มีคุณภาพต่ำและการไม่ออกกำลังกาย รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงกำหนดแนวทางใหม่ด้านโภชนาการเมื่อเดือนมกราคม ปี 2016 มีอะไรกันบ้าง มาดูกันเลย!

หยิบหนังสือขึ้นมาสิ แล้วคุณจะอายุยืน

คุณกำลังหาวิธีทำให้อายุยืนโดยไม่ต้องงดรับประทานของโปรดใช่ไหม เพียงแค่นั่งลงอ่านหนังสือดีๆ สักเล่ม คุณก็ได้แตะน้ำพุแห่งเยาว์วัยเข้าแล้ว นักวิจัยจากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเยล ทำวิจัยเพราะต้องการเข้าใจว่าการอ่านหนังสือส่งผลดีต่อสุขภาพบ้างหรือไม่ เรารู้กันอยู่แล้วว่าการอ่านส่งผลดีต่อจิตใจ ช่วยกระตุ้นการส่งสัญญาณของเซลล์ประสาทในสมอง ยังไม่รวมถึงช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้แข็งแรงขึ้น แต่นักวิจัยต้องการทราบว่า การอ่านช่วยให้สุขภาพกายดีขึ้นด้วยหรือไม่

สีปัสสาวะนั้นสำคัญไฉน!?

รู้ไหมว่าสิ่งที่เห็นในโถชักโครกเป็นเหมือนลูกแก้ววิเศษที่บอกภาวะสุขภาพได้ สีปัสสาวะอาจเปลี่ยนไปได้ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำในร่างกาย อาหารที่คุณรับประทาน หรือเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางตัว ต่อไปนี้คือสิ่งที่สีปัสสาวะบอกเกี่ยวกับสุขภาพของคุณและแบบไหนที่เริ่มเป็นสัญญาณอันตราย!

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน

กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกับกระดูกส่วนใดบ้าง ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยง? ทำไมกระดูกสะโพกหักจึงนำไปสู่การเสียชีวิตได้!?

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)

Schizophrenia หรือภาษาไทยเรียกว่า “จิตเภท” เป็นโรคทางจิตเวชซึ่งพบได้บ่อยขนาดที่ว่าใน 100 คน พบผู้ป่วยจิตเภทได้ 1 คน โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไรบ้าง รักษาได้หรือไม่ และหากคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคจิตเภท จะมีวิธีชักชวนให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์ได้อย่างไร