Tag: อาการ
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
อาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือน? แน่นหน้าอก ใจสั่น เป็นลมหมดสติ เข้าข่ายหรือไม่?
เมื่อไรที่ควรไปพบแพทย์?
ติดตามได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์”
โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร
อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 12: โรค PTSD
ผู้ที่เคยผ่านเหตุการณ์ร้ายแรงจนถึงขั้นชีวิต มักได้รับผลกระทบทางจิตไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ในทางการแพทย์ เรียกอาการดังกล่าวว่า PTSD ซึ่งย่อมาจาก Post-traumatic Stress Disorder หรือ โรคเครียดภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญ โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่
ลองมาฟังรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 11: โรคย้ำคิดย้ำทำ
โรค OCD หรือย้ำคิดย้ำทำคืออะไร มีอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่
ลองมาฟังรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในรายการ “คุยกับหมอจิตเวช” ตอนที่ 11 เรื่อง “โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD)”
ปวดหลัง ตอนที่ 5: โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท
เชื่อว่าคุณคงเคยได้ยินชื่อ "โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท" กันใช่ไหม แต่รู้ไหมว่า ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงคือวัยหนุ่มสาว…ไม่ใช่กลุ่มผู้สูงอายุแต่อย่างใด!
ทำไมโรคนี้จึงเกิดกับคนวัยนี้ และหากเป็นแล้วจะรักษาได้อย่างไร?
ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท
โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาทคืออะไร มีอาการอย่างไร ใครเป็นผู้มีความเสี่ยง การรักษาต้องทำอย่างไร หากไม่ผ่าตัดจะรักษาหายได้หรือไม่
ปวดหลัง ตอนที่ 3: ปวดหลังต้องทำอย่างไร
หากปวดหลัง ต้องทำอย่างไร แค่สังเกตอาการและกินยาเพียงพอหรือไม่
ระหว่างยากินกับยาทาแก้ปวด ประเภทไหนให้ผลในการรักษาดีกว่ากัน
ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 10: โรคการกินผิดปกติ (Eating Disorders)
โรคการกินผิดปกติ หรือ Eating Disorders คืออะไร
มักเกิดกับผู้ป่วยในวัยใด
มีลักษณะหรืออาการอย่างไร
พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)
Schizophrenia หรือภาษาไทยเรียกว่า “จิตเภท” เป็นโรคทางจิตเวชซึ่งพบได้บ่อยขนาดที่ว่าใน 100 คน พบผู้ป่วยจิตเภทได้ 1 คน
โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไรบ้าง รักษาได้หรือไม่ และหากคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคจิตเภท จะมีวิธีชักชวนให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์ได้อย่างไร
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่
กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร
ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 7: โรคอารมณ์สองขั้ว
เคยได้ยินโรคอารมณ์สองขั้ว หรือไบโพลาร์ไหม รู้จักรึเปล่าว่าคือโรคอะไร
มีสาเหตุและอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่
พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ
จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย