Home Tags ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว

Tag: ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 9: รูปและเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย

รูปและเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย เรื่อง “วรรณยุกต์” ใครว่ายาก... มาเรียนภาษาไทยในมุมมองใหม่กับเราสิ เข้าใจง่ายขนาดนี้ จะหาได้ที่ไหนอีก!!

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 8: สระเกิน

มาแล้วค่า คลิปความรู้ภาษาไทย แบบ #เด็กดูได้ #ผู้ใหญ่ดูดี ตอนที่ 8 ว่าด้วยเรื่อง: "อำ-ไอ-ใอ-เอา ฤ-ฤๅ-ฦ-ฦๅ เหล่านี้คืออะไร ใช่สระหรือไม่ มาทบทวนกัน!" มาเรียนภาษาไทยในมุมมองใหม่กับเรา แล้วคุณจะรู้ว่า "ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว"!!

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 7: รูปและเสียงสระในภาษาไทย

ว่าด้วยเรื่อง "สระ"...ที่เราอ่านว่า สะ-หระ รู้มั้ยจ๊ะว่า "เสียง" มีเท่าไร รู้มั้ยล่ะว่า "รูป" ดูอย่างไร รู้หรือไม่ "เสียง" กับ "รูป" ไม่เท่ากัน เรียนภาษาไทยในมุมมองใหม่กับเรา แล้วคุณจะรู้ว่า "ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว"!!

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 6: ตัวการันต์

เรามักจะคิดว่า เครื่องหมาย ์ เรียกว่า การันต์ จริงๆ แล้วมันใช่หรือเปล่า "ตัวการันต์" คืออะไรกันแน่ หาคำตอบได้ใน "ภาษาไทยง่ายมากกก ยากนิดเดียว" ตอนที่ 6 จ้า

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 5: ตัวสะกด

จากพยัญชนะต้น...ก็มาถึงพยัญชนะท้าย เรียกง่ายๆ ว่าตัวสะกด แต่จะง่ายเหมือนชื่อเรียกหรือไม่ ตัวสะกดในภาษาไทยมีกี่ประเภท? พยัญชนะไทยทุกตัวใช้เป็นตัวสะกดได้หรือไม่? มาตราตัวสะกดมีกี่แม่? แม่ ก กา คืออะไร? ครูป่านกับครูอู๋เขียนมาให้อ่านกันแล้วนาจา

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 4: อักษรควบ

อักษรควบคืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท? อักษรควบแท้ กับอักษรควบไม่แท้ ต่างกันอย่างไร มาเรียนรู้กันต่อในซีรีส์ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ ๔ นี้กันได้เลย!

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 3: รูปและเสียงพยัญชนะไทย

ทำความรู้จักกับพยัญชนะไทยให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ที่เราท่องกันมาตั้งแต่เด็กว่าพยัญชนะไทยมี "44 รูป 21 เสียง" นั้น มันคืออะไร

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 2: พยัญชนะไทย

ก เอ๋ย ก ไก่ ข ไข่ ในเล้า ฃ ฃวดของเรา...แล้วอะไรต่อนะ 😂😂😂 รู้หรือไม่ว่าทำไมคนโบราณถึงสอนให้ท่องอาขยานพยัญชนะไทย มาท่องกันใหม่กับเราที่นี่เลย

ภาษาไทยง่ายมากกกก ยากนิดเดียว ตอนที่ 1: เสียงและอักษร พยางค์และคำ

เปิดประตูสู่โลกแห่งเสียงและอักษร ให้เรารู้ว่า "เสียงในภาษาไทย" ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ส่วน "อักษรไทย" ก็คือสัญลักษณ์แทนเสียงเหล่านั้น และเมื่อนำเสียงทั้งสามมาประกอบกัน ก็จะเป็น "พยางค์" และ "คำ"